DSC08084

Bo.Lan 24 Sukhumvit 53 Open House

Bo and Dylan Portriat 01

โบลาน เปิดบ้าน ๒๔ สุขุมวิท ๕๓ 

เชพโบ ดวงพร ทรงวิศวะ และเชฟดิลลัน โจนส์ (Dylan Jones) แห่งร้านอาหารไทยระดับหนึ่งดาวมิชลิน โบ.ลาน  จัดงานเปิดบ้าน ๒๔ สุขุมวิท ๕๓  ไปเมื่อวันก่อน   งานนี้เป็นการเปิดพื้นที่บ้าน  ที่แต่เดิมเป็นที่ตั้งของโบ.ลาน  ในสาระคอนเซ็ปต์ใหม่ล่าสุด   มาวันนี้นอกจากจะต้อนรับร้านน้อง เออ อาหารไทย  ที่ย้ายจากท่าเตียนเข้ามาไว้ใต้ชายคาเดียวกันแล้ว  ยังนำเสนอโครงการ Eco-gastronomy  ที่ไม่ใช่เพื่อทำธุรกิจ  หากต่อยอดการพัฒนาด้านอาหารที่ยั่งยืน

IMG_1217

สถานการณ์ โรคระบาดโควิด 19  ที่เกิดขึ้นทั่วโลกได้ส่งผลกระทบต่อทุก ๆ  มิติของสังคม    ร้านอาหาร   พื้นที่รับใช้สังคมในหลากมิติ    ไม่ว่าจะสะท้อนวัฒนธรรมอาหารของชุมชน   เติมเต็มผู้คนทั้งจิตใจและร่างกาย   เป็นพื้นที่ร่วมในการพบปะสังสรรค์  ตั้งแต่สัพเพเหระเรื่อยไปจนระดับปัญญาชน  ทั้งยังเป็นสถานที่เฉลิมฉลองร่วมยินดี  แบ่งปันทุกข์และสุขอย่างมีนัย

เมื่อความสุขในการร่วมรับประทานอาหาร   อาจคุกคามสุขภาพในยุคโรคระบาด    เมื่อนั้นเสียงกระทบแก้ว  ช้อนส้อมกระทบจาน  ย่อมจางหายไป   ร้านอาหาร   ไฟถูกหรี่ดับมืด  ทิ้งไว้เพียงความเงียบระคนเหงา กับบรรยากาศอึมครึม

การปรับตัวเพื่อความอยู่รอด    หนึ่งในหลายทางเลือก   ตัดสินใจครั้งใหญ่ปล่อยร้านที่ทุกรายละเอียดเกิดขึ้นด้วยสองมือ   คืนกุญแจบ้าน   แล้วเดินออกจากท่าเตียนในเมืองเก่า   มารบกวนพี่สาว   ใช้สถานที่เดียวกับ   โบ.ลานเพื่อลดค่าใช้จ่าย

ในเมื่อทุก ๆ   วิกฤติย่อมมีโอกาส   บ้าน ๒๔  สุขุมวิท ๕๓  ที่ตั้งของโบ.ลาน  จึงเปิดบ้านในคอนเซ็ปต์ใหม่ให้เป็นพื้นที่ของคนในชุมชน   คนที่มีความคิดความเชื่อร่วมกัน   เชื่อมโยงเรื่องราวในสังคมและวัฒนธรรมการกินที่ไปในทิศทางแห่งความยั่งยืน   แบ่ง ฝัน ปันสิ่งที่เชื่อ  และทําธุรกิจที่เหนือกว่าการทํากําไรสูงสุดร่วมกัน

พื้นที่แห่งนี้จึงเป็นที่มาของเรื่องราวด้าน  Eco-gastronomy  และ mindful eating cooking and drinking  ที่เรียกง่ายๆว่าโภชนสติ   ทั้งกิจกรรมการทํา ผสม ดื่ม กิน อย่างมีสติ  รู้ที่มา  ไม่เบียดเบียนตัวเอง  สังคมและสิ่งแวดล้อม   แสงปลายอุโมงค์ เริ่มสว่างขึ้น   เพราะสิ่งนี้ไม่ได้เป็นเรื่องของการทำธุรกิจอาหาร   หากตั้งใจให้เป็นรากเป็นแก่น   เป็นต้นแบบในการทําธุรกิจที่ไม่เบียดเบียนใคร   ไม่เบียดเบียนสังคม  ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม  และเป็นฐานของการเข้าใจวัตถุดิบ  แหล่งที่มาฤดูกาล  ตลอดถึงขนบการทําอาหารซึ่งสืบไว้เพื่อโภชนศิลป์ของอาหาร ไทยต่อ ไป

การจัดสรรปันส่วนพื้นที่ บ้าน ๒๔  สุขุมวิท ๕๓  จึงเป็นไปอย่างธรรมชาติและมีระบบ  เพื่อให้ได้ประโยชน์และบรรลุเป้าหมายสูงสุด   เดินทัวร์ชมงานเปิดบ้านที่ครบถ้วนวันนี้  จึงประกอบด้วย โบ.ลาน อาหารไทย  (Bo.lan Essentially Thai)  เออ อาหารไทย  (Err Urban Rustic Thai)  ดินแดนไร้ขยะ  (wasteland) โบ.ลาน ร้านชํา (Bo.lan’s Grocer & Must Wine Bar)  สวน โบ.ลาน  และ โครงการขยะจบที่เรา ( Zero Waste to Landfill)

โบ.ลาน อาหารไทย  (Bo.lan Essentially Thai)

IMG_1374

โบ.ลาน  ยังคงไว้ซึ่งแนวคิดเดิมของการบริหารอาหารเต็มรูปแบบ  โดยผู้ปรุงจัดอาหารเข้าสํารับตามฤดูกาล และความสมดุลของธัญญาหาร  มังสาหาร  ความสมดุลของรสชาติ  ทั้งเผ็ดร้อนและนุ่มนวล  รสสัมผัสที่ ครบทั้ง กรอบร่วน หนึบนิ่ม ละมุนลิ้น  เพื่อให้ผู้รับอาหารได้ประสบการณ์อาหารไทยผ่านผลึก  ปัญญา  ญาณทัศนะของผู้ปรุง และบริบททางสังคม

โบ.ลาน ยังยึดถือปรัชญาการทําอาหารที่บูรณาการเรื่องของวิถี ขนบ ภูมิปัญญาอาหารไทยเข้ากับการทํางานเรื่องสิ่งแวดล้อม   เริ่มจากการใช้วัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตรที่มาจากระบบธรรมชาติอินทรีย์และยั่งยืนโดยสร้างความยุติธรรมแก่ทุกฝ่าย โบ.ลานเชื่อมโยง ผลผลิตพื้นถิ่น ที่เคารพสรรพสิ่งในห่วงโซ่จากต้นนำ้ถึงปลายน้ํา  เพื่อให้ได้อาหารไทยที่ทําให้เรื่องการสืบต่อ ภูมิปัญญาอาหารและเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องเดียวกัน

สํารับ ของ อาหารที่ โบ.ลาน สามอย่างด้วยกัน 1. โบ.ลาน ข้าวปลาอาหาร 2. โบ.ลาน ระเริงรส 3. โบ.ลาน รสสมดุล

โบ.ลาน เปิดให้บริการ  มื้อกลางวัน  วันพฤหัสบดี ถึง วัน อาทิตย์ สําหรับ มื้อเย็น บริการทุก วันพุธ ถึง วันเสาร์  โบ.ลานให้บริการในห้องที่ติดกับสวน  ให้ดื่มด่ำกับความเขียวและพร้อมรับพลังงานธรรมชาติจาก แสงแดดและใบไม้เขียว

สอบถามเพิ่มเติม หรือ ติดต่อสํารองที่นั่งได้ที่  Contact@bo.lan.co.th โทรศัพท์ ๐๒-๒๖๐-๒๙๖๒   หรือไลน์  @bo.lan (https://lin.ee/8pVp3ra) www.bolan.co.th

เออ อาหารไทย  (Err Urban Rustic Thai)  

IMG_1375

เออ อาหารไทย น้องสาวสุดซ่า ได้ก้าวเข้ามาในบ้าน สุขุมวิท ๕๓   ถิ่นทองหล่ออย่างเป็นทางการ  สะท้อนความเป็น urban rustic  ของเออได้เป็นอย่างดี  อาหารไทยริมทาง อาหารไทยสามัญ  ที่คุ้นเคย  หากความพิเศษคือการใช้วัตถุดิบเกษตรอินทรีย์  และไม่ใช้เครื่องปรุงอุตสาหกรรม  อย่างผงชูรส   ซอสหรือผงปรุงรส   รวมไปถึงการทําอาหาร แปรรูปเอง อย่าง แหนม ไส้อั่ว  ไส้กรอกข้าว ที่คัดเลือกวัตถุดิบอินทรีย์มาใช้   ไม่ใช่เพียงเพื่อที่จะให้ได้อาหารอร่อยไม่ปนเปื้อนสารกันบูด  แต่ยัง เป็นการสานต่อภูมิปัญญาในการทําถนอมอาหาร   และรสชาติที่อาจไม่แน่นอน   ต่างจากแหนมไส้อั่วและไส้กรอกจากที่อื่น   ที่นี่บางครั้งรสชาติอาจเปรี้ยวกว่า หรือไม่ก็เค็มกว่า   นั่นทำให้เออมีความพิเศษที่หลากหลายจากความไม่ปรกติอันเป็นธรรมชาติ

เออ บริการอาหารกับแกล้ม  อย่าง แค๊ปหมูผงวิเศษ   หมูย่างข้าวหมาก  หนังไก่ทอด  หรือ ผักกาดดอง  กระเทียมดอง   ไปจนถึงอาหารที่หนักท้องอย่างแกงเขียวหวานไก่ที่ใส่ทุกส่วน   หมูฮ้อง  ผัดผักบุ้ง   หรือ หมึกทอดกระเทียม   จะกิน เบาๆ เป็นกับแกล้ม หรือ จัดเต็มก็ย่อมได้

เพื่อความสะดวกสบาย   เออยังมีบริการส่งอาหารถึงบ้าน   และเปิดบริการ ทุกวันอังคารถึงวันอาทิต ย์   บริการอาหารกลางวัน ระหว่า ง ๑๑.๓๐ – ๑๕.๐๐ และเวลา ๑๗.๐๐ เป็นต้นไป

สอบถามรายละเอียดได้ที่   info@errbkk.com หรือโทรศัพท์ ๐๒-๖๒๒-๒๒๙๒  Line Office account: @errbkk (https://lin.ee/eL7wyOT)  www.errbkk.com

โบ.ลาน ร้านชํา (Bo.lan’s Grocer)

IMG_1156

โบ.ลาน ร้านชํา ใช้พื้นที่ห้องนั่งเล่นที่ใช้รับรองแขก  ผู้ใช้บริการ สามารถสั่งเครื่องดื่มปรุงผสมจาก wasteland หรือ ไวน์ที่ผลิตอย่างธรรมชาติจาก MUST ไวน์บาร์  ที่จะดื่มอย่างเดียว หรือ จะรับพร้อมอาหารเบาๆ ใน บรรยกาศที่สะท้อน Sustainable living ได้เป็น อย่างดี

โบ.ลาน ร้านชํา เป็นพื้นที่ เปิดโอกาสให้ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน  ผลิตภัณฑ์ทำมือ ที่ผลิตขึ้น ด้วยภูมิปัญญา และ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่า งยั่งยืนจากประเทศไทย โดยมีเจ้าหน้าที่ให้คําอธิบายและแนะนําการใช้วัตถุดิบ และ เครื่องปรุงรส

IMG_1254

ระหว่างช่วงล๊อกดาวน์ ร้านชำโบ.ลาน  จัดทํากล่องเสบียง และกล่องยังชีพ ซึ่งเป็น CSA BOX ที่ทํางานร่วมกับเกษตรกรรายย่อย ที่ส่งผักผลไม้ตามฤดูกาล ให้โบ.ลานใช้อยู่เป็นประจํา เราจึงจัดสรร ผลผลิต ทางการเกษตรเหล่า นี้ลงกล่อง และจัดทําสูตรอาหารเพื่อจุด ประกายรายการอาหารที่สามารถทําได้ โดยในกล่องมีผักและผลไม้รวมกันประมาณ ๒ กิโลกรัม เนื้อสัตว์ ประมาณ ๒๐๐ กรัม และมี น้ําสต๊อก หรือ กะทิ หรือ กะทิ ผักบางชนิดก็จะมีการเตรียมให้เช่น หอมปอกเตรียมให้พร้อมใช้แล้วในหนึ่งกล่อ งก็จะสามารถทําอาหารได้ประมาณ ๓ ถึง ๕ จาน และยังมี โบ.ลาน ปันส่ว น ซึ่งเป็นอาหารแช่แข็งที่พร้อมรับประทาน  โบ.ลานร้านชํา ยังมีการจัด โปรแกมรสชาติศึกษา โดยการทํา workshop เกี่ยวกับรสชาติ ทั้งทางด้านทั้งไทยและเทศ ร้านชําเปิด วัน อังคาร ถึง วันอาทิตย์ ตั้งแต่ ๑๑.๓๐ ถึง ๒๑.๐๐น.

MUST WINE BAR

IMG_1260

เมื่อจะเดินทางสาย mixed used เราก็จะเดินหน้าให้เต็มที่ โดยเชิญเพื่อนสนิทอย่า ง Fin Wine ที่สร้าง MUST ขึ้นมาเพิ่มพื้นที่ไวน์สายที่นิยมธรรมชาติ  องุ่นปลูกโดยไม่ต้องได้พบเจอกับสารเคมีนานาชนิด  เป็นการปลูกองุ่น เพื่อการทําไวน์ โดยเกื้อกลูกับธรรมชาติ กับ ดวงจันทร์  หลายไร่ยังขอแรงจากม้าคู่ใจเพราะไม่ใช้รถไถ  จะแต่ง กิ่ง จะเก็บ ผล นอกจากจะ วัด โบเม่ แล้ว ก็ยังดูดาวดูเดือนด้วย เพื่อความเป็นชีวพลวัตรอย่างสมบูณ์ ชีวพลวัต (Biodynamic ) จากนั้นไม่ไปทําอะไรกับไวน์มากนัก ปล่อยให้เทวดาดูแล และ เลี้ยงดูจุลินทรีย์ ไป นอกจาก MUST จะมาแนะนํา ไวน์คุณภาพดีแล้ว MUST มีโครงการที่จะจัดการชิมไวน์ ในหลากหลายมิติ เพื่อให้การกินไวน์มีอารยะ และเข้าในโครงสร้างและรสชาติของไวน์และ อาหารที่ผสานกันแล้วสามารถเกิดรสอร่อยขั้นกว่า  ขึ้นได้ตามธรรมชาติ เข้าใจและเรียนรู้ค วามหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านน้ําองุ่นร่วมกัน

IMG_1160

รายละเอียดการติดต่อ
Nuttiya Wisootsat (Lily) Assistant Director lily@fin-wine.com 02-653-0154 081-402-6664 https://www.facebook.com/FabulousIsNeeded http://instagram.com/finwinebkk Line Official Account: @finwine (https://lin.ee/2SwzxqBPF)

ดินแดนไร้ขยะ  (wasteland)

IMG_1367

wasteland พื้นที่ ที่ถูกแบ่ง สรรเพื่อการดื่มร่ว มกัน จริต ของ wasteland ไม่ใ ช่ bar แต่ wasteland คือ community sipping space ด้วยความค่อ ยๆ ละเลียดจิบ สะท้อนความเป็น ตัวตนอย่า งชัดเจนในเครื่องดื่มอย่า งชัดเจนว่า เครื่องดื่มที่ wasteland ไม่ว่า จะno proof หรือ Full proof ก็ไม่ควรกระดก ด้วยว่า wasteland ได้คิด พินิจ สังเคราะห์ สกัดทุก หยด จาก ความเชี่ย วชาญ ความรู้ ความเข้า ใจ ในศาสตร์แห่ง การปรุง เครื่องดื่ม และความรัก ที่มีให้ต่อ สิ่ง แวดล้อม wasteland ไม่ไ ด้เอาขยะมาทําเป็นเครื่องดื่ม wasteland แค่ต้องการใช้ทรัพยากร ให้คุ้มค่าที่สุดก่อนที่ทรัพยากรเหล่า นั้นจะกลายเป็นปุ๋ย และทําหน้าที่สุด ท้ายเพื่อธรรมชาติที่ ยั่งยืน ด้วยความร่ว มมือของจากคนครัวโบ.ลาน การคัด แยกและเก็บ สิ่งที่ค รัวไม่ส ามารถนํามา ใช้ปรุงและทําอาหารได้ ครัวก็จัดเก็บให้ wasteland ต่อ ไปไม่ว่า จะเป็น ก้า นโหระพา ก้านกระ เพรา หรือ กากมะพร้าวจากการคั้นกะทิ ถูกหยิบใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อ ไปในการทําเครื่องดื่มที่มี รสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ในขณะเดียวกัน wasteland ก็ให้คุณค่ากับผู้ผลิตฤดูกาล และ ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมในขณะที่สามารถดื่มด่ำ และชื่นชมรสชาติของเครื่องดื่มได้เต็มที่

IMG_1455

wasteland อยากจะเห็นพื้นที่นี้เป็น พื้นที่แห่ง การแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับการดื่มที่ดูแลและรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมผ่านเครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์ที่จะมีการวางขายในโครงการต่อยอดต่อไป

contact@wastelandbkk.com Line Official Account: @wasteland https://www.facebook.com/wastelandbkk https://instagram.com/wastelandbkk

สวนโบ.ลาน

DSC08097

อุโมงค์ไม่ไ ผ่ ทอดตัวยาวลึกเข้ามา ไม้เลื้อยที่พันเกี่ยวโครงสร้างไม่ไผ่ทำให้ อุโมงค์ดเขียว สดชื่น และร่ม รื่น ไม่เพียงแต่อุโมงค์นี้จะสร้างความสงบ และ สดชื่นแล้ว อุโมงค์นี้ยังทําหน้าที่ ฟอกอากาศ จากถนนที่มีรถวิ่งขวัก ไขว่ ให้ อากาศด้านในสะอาด เหมาะกับการกินอยู่อย่าง ธรรมชาติ ลึกเข้ามาด้านใน มีพื้นที่สีเขียวที่ถูก แบ่งออกเป็นสัดส่ว นด้วยปรัชญาของการทําสวน ที่เ ป็นธรรมชาติ เกี่ยวข้องกับชีวพลวัต และออกแบบโดยเฉพาะให้เป็นสวนในบริบทเมือง สวน ในเมืองแห่ง นี้เป็นสวน Permaculture แห่ง แรกในกรุงเทพที่เ ป็นส่ว นต่อ ยอดของร้านอาหาร สวนแห่ง นี้เป็นสวนแห่ง การแบ่ง ปัน เพราะเราต้องการแบ่ง ปันทั้งพลังธรรมชาติ และ การใช้ ปรัชญา Permaculture มาใช้ในงานสวน ในสวนแห่ง นี้จึงมีทั้ง การสร้า ง Keyhole และ Spiral เพื่อปลูก ต้น ไม้ การปลูก แบบ Keyhole ก็มีการให้ทิ้งเศษวัสดุที่สามารถย่อ ยอาหารตาม ธรรมชาติได้ ไว้ตรงกลางเมื่อธรรมชาติทําการย่อ ยแล้ว ธาตุอ าหารก็ลงสู่ดินโดยไม่ต้องมีการ พลิกดิน หรือใส่ปุ๋ย อินทรีย์เพิ่ม อย่า งการสร้างก้น หอย หรือ spiral ก็เป็น การสร้างสภาพ แวดล้อมให้เกิดความชื้นที่หลากหลาย ด้านบนชื้นน้อยปลูกพืชผักที่ไม่ต้องการน้ํามาก ระดับที่ ลดหลั่นลงมามีความชื้นมาก มีความแฉะ สามารถปลูกพืชชุ่ม น้ําได้ โครงสร้างเหล่า นี้สามารถ เอื้อให้เราปลูก ผักได้ห ลากหลายมากขึ้น ในพื้นที่จํากัด เรายังใช้ขวดไวน์เป็นตัวช่ว ยยึด โครงสร้างไม่ไ ผ่เ พื่อนําขวดไวน์ม าใช้ป ระโยชน์แ ละสร้างความตระหนักรู้เรื่อง ขวดแก้วในบ่อขยะ ในบริเวณสวน โรงเพาะชําหลังเล็ก เพื่อเพาะต่อ ยอดการเก็บเมล็ดพันธ์ในสวนแห่ง นี้ พื้นที่นี้ยังเป็นพื้นที่สําหรับการเข้าถึงและใช้พื้นที่สําหรับทุก คนแม้กระทั่งคนที่อยูบนรถเข็น การ วัดระยะแขนที่เอื้อมถึง การยกกะบะปลูก อาการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจากการทําสวนแบบเดิมที่ต้องก้ม ๆเงยๆ เรายังเชื้อเชิญ กลุ่ม เด็กที่สนใจมาเยี่ยมชมสวนและ แสวงหาความรู้ผ่า นต้นไม้ใบ หญ้า และความเข้าใจกับสวนในเมือง และ อาหารการกินอีกด้วย

DSC08212

DSC08144

DSC08228

แคมเปญ ขยะจบที่เรา ( Zero Waste to Landfill)

ในนามของทุก กิจกรรม และทุก ธุร กิจ ที่เ กิดขึ้นในบ้านหลังนี้ เราตั้งเป้า ระสงค์ที่จะ ประกาศ “ความมุ่ง มั่นที่จะริเริ่มโครงการขยะจบที่เรา” โดยเป้าหมายหลักของโครงการริเริ่มนี้ คือ ปริมาณขยะที่จะไปจะต้องเดินทางจากบ้านหลังนี้ไปที่บ่อ ขยะเป็นศูนย์ ด้วยการจัดการ ระบบภายในบ้า น ตั้งแต่ต้น น้ํา ถึงปลายน้ํา จัดการทุก อย่า งที่เ ราจัดการได้โดยเริ่มที่เ รา เราดูว่า อะไรที่เ ราใช้เพื่อดําเนินธุร กิจบริการอาหารและเครื่องดื่มแล้วอะไรบ้างที่จะกลายเป็นขยะ วัส ดุ และ วัตถุดิบแต่ล ะชนิดจะถูกแบ่ง แยก และจัดเก็บเพื่อให้ประโยชน์สูงสุด ก่อ นที่จะถูกส่ง ไป ตาม สถานที่ต่างๆเพื่อ Recycle หรือ Upcycle หรือ ถูกย่อยให้กลายเป็นปุ๋ย ต่อ ไป

IMG_1318

เราเริ่มที่งานพลาสติก  เรื่องการใช้พลาสติก  เราพยายามลดละและเลิกการใช้พ ลาสติก ที่ใ ช้เพีย งครั้งเดีย ว แล้วจะต้องถูกทิ้งไป โดยเฉพาะพวกบรรจุภัณฑ์ สําหรับอาหารที่เ ข้ามา หลอดพลาสติก ถุง พลาสติก ขวดน้ําพลาสติก การใช้ ฟิลม์ค ลุม อาหาร กล่อ งอาหารเพื่อนํา กลับบ้าน ฯลฯ เราจึงพยายามเลี่ยงโดยการไม่นำพลาสติกเข้าร้าน แลกกล่อ งผัก กับ เกษตรผู้ ปลูก ใช้ปิ่นโตแทนกล่อ งพลาสติกใส่อาหาร ใช้ผ้าลงขี้ผึ้งแทนฟิลม์พลาสติก ไม่เสนอบริการการใช้หลอดให้กับผู้เข้ามาใช้บริการ และถ้าเราจําเป็นต้องใช้อย่างถุงสูญ ญากาศเพื่อเก็บรักษาคุณภาพอาหาร เราก็ทํางานร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ เพื่อสร้างวัสดุใหม่จากถุงสุญญากาศ

นอกจากขยะจากพลาสติกแล้ว เรายังดูแ ลเรื่อ งขยะจาก อาหาร ไม่ว่า จะจากการเตรียม การจัดเก็บ หรือ การทําอาหาร ให้อาหารเกิดความเสียหายน้อยที่สุด การตรวจเช็ค อาหารเข้า ก่อ นหลัง เมื่อผลไม้สุก และงอมมาก็ต้องจัดการ แปรรูป แจกจ่าย โครงการ Upcycling หลายรูป แบบในการ จัด การอาหาร ก่อนลงถังหมัก ระบบปิด เป็น อีก หนึ่ง วิธี ที่เราเลือกใช้ เปลี่ยนข้าวให้ก ลายเป็น ข้าวตู ชาข้า ว และส่ง กลับ ให้เกษตรกรผู้เลี้ย งไก่ เช่น เดียวกันกับเปลือกกุ้งที่ถูกตากแห้งแล้วนําไปป่น ก็ถูกนําไปเป็นส่ว นผสมของอาหารไก่อินทรีย์ ซึ่งเป็นตัวอย่างสําคัญ ของเศรษฐกินหมุน วน Circular Economy ได้อย่า งชัดเจน

เปลือกผลไม้นานาชนิด จะถูก แยกไว้ในถังเฉพาะ เพิ่มไปหมักเป็น EM ผลไม้ EM (Effeictive Micro organism) เป็น EM ที่มีกลิ่นหอม และใช้เวลาหมัก เพียง ๗ วันเท่า นั้น EM นี้ไว้ใช้สําหรับ การใส่ล งไปในท่อ เพื่อช่วยดับกลิ่น ใส่ลงในน้ําที่ขังเพื่อลดปริมาณยุง และ ยังใช้ ในน้ํายาซักล้างได้อีกด้วย ส่ว นเปลือกผลไม้ตระกูลส้ม จะถูกนํามาปั่น ให้และแยกกากให้ได้เปก ติน และน้ํามันหอมระเหยมาใช้ในน้ํายาซักล้างและน้ํามาเป็นส่ว นผสมของน้ํายาฆ่าเชื้อด้วยคุณ สมบัติของเปลือกผลไม้ตระกูลส้ม

ก้านผักบ้างส่วน wasteland เลือกที่จะนําไปใช้ บางส่วนถูกใส่ลงไปในกะทะต้มน้ํามัน เพื่อเตรียมทําสบู่ต่อไปสบู่เหล่านี้ใช้ในครัว และแจกจ่ายให้แขกที่มาใช้บริการบ้าง สบู่จากที่นี่ จะมีความนิ่มเป็นพิเศษ เพราะน้ํามันที่เ ราใช้เป็นน้ํามันรําข้าว กากมะพร้าวที่เ หลือจากการคั้น กะทินอกจากจะแจกจ่า ยให้เพื่อนๆในวงการไปเป็นส่ว นผสมในการทําขนมและอาหาร และยัง กําลังพัฒ นาไปเป็นถ่า นเพื่อเป็นพลังงานทางเลือก เปลือกไข่ถูกแยกเก็บเพื่อใช้ปรุงดิน และบาง ครั้งนํามาเป็นส่วนผสมเต้าหู้ อาหารที่เหลือจากจานของแขก ถึงอาหารอย่างอื่นที่ไม่สามารถทำประโยชน์อ ย่างอื่นได้ เราก็ใส่ลงไปในถังหมักปุ๋ย ระบบปิด เพื่อย่อยให้กลายเป็นปุ๋ย ต่อ ไป

IMG_1294

นอกเหนือจากการจัดการขยะที่เ กิดจากอาหารแล้ว เรายังใส่ใ จกับขวดแก้วสีพิเศษที่โรง คัด แยกขยะ ไม่รับเพราะว่า ไม่สามรถไปหลอมรวมกับแก้วสีอื่นๆได้

เนื่องจากการดื่มด่ำ ในกลิ่น และ รสของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์น านาชนิด โดยเฉพาะ ขวดไวน์ ขวดไวน์จํานวนมหาศาลถูกทิ้งลงบ่อ ขยะและรอเวลาอีกหนึ่งล้านปีเพื่อที่จะมีโอกาสกับ มาเป็น ทรายอีก ครั้งหนึ่ง ไม่ว่า จะเป็นไวน์ กรองครู จนไปถึงไวน์ที่ผลิตในระบบอุตสาหกรรม  ส่วนใหญ่ต่างก็มา จบกันที่บ่อ ขยะเมื่อถูกบริโภคในประเทศไทย ด้วยปริมาณมหาศาลของขวดไวน์ที่ เกิดขึ้นในอุต สาหกรรมบริการอาหารและเครื่องดื่ม เราจึงเริ่มคิดว่า จะทําให้วัสดุที่หมดหน้าที่ แรกในการใช้งาน มาแปรเปลี่ยนเป็น สิ่งอื่นทีมีคุณ ค่า ประโยชน์ และหวังว่า จะกลายเป็น สัญ ลักษณ์ที่สะท้อนเรื่องราวของขวดแก้วในบ่อ ขยะได้อย่า งเข้าถึงได้

Etna บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องการทําเครื่องแก้วและยังเป็นบริษัทไม่กี่บริษัทที่ยัง มีการใช้ศ าตร์แ ละศิลป์ในการเป่า แก้ว ได้เข้ามาเป็นพันธมิตร และชุบ ชีวิต ขวดไวน์โดยกการนํา ไปบด แล้วหลอมถึงมาใหม่ใ ห้กลายเป็นเหยือกน้ํา เพื่อใช้ในร้านอาหารและ เครื่องดื่ม นอกจาก แคมเปญนี้จะทําให้ขวดแก้วไปสู่บ่อ ขยะลดลงแล้ว การสร้างการตระหนักรู้ถึงการให้บริการ ด้วยขวดน้ําพลาสติกที่ใ ช้ทิ้งในอุต สาหกรรมบริการอีกด้วย เพื่อเป็นการลดขยะ จากวัสดุทุก ประเภท และเป็นการลดการผลิตที่มากเกินไปและไม่ยั่งยืนอีกด้วย

Related posts: